Forest

12 เม.ย. ‘วันป่าชุมชนชายเลนไทย’ รักษ์ผืนป่าชายฝั่ง เพื่อความยั่งยืน

“วันป่าชุมชนชายเลนไทย” 12 เมษายน ร่วมปกป้องและฟื้นฟูป่าชายเลน สมบัติล้ำค่าที่หล่อเลี้ยงชีวิต และปกป้องแผ่นดิน ร่วมกันสานต่อความยั่งยืนให้ป่าชายเลนคงอยู่เพื่ออนาคต วันที่ 12 เมษายนของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันป่าชุมชนชายเลนไทย” เพื่อรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลน ซึ่งเป็นหนึ่งในทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่ามหาศาลของประเทศไทย ป่าชายเลนไม่เพียงเป็นแหล่งทรัพยากรที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิตของชุมชนชายฝั่ง แต่ยังเป็นกำแพงธรรมชาติที่ปกป้องแผ่นดินจากภัยพิบัติ และเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ป่าชายเลน: สมบัติล้ำค่าของชายฝั่งไทย ป่าชายเลนคือพื้นที่ป่าไม้ที่เติบโตในบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นดินและทะเล พบได้ตามชายฝั่งและปากแม่น้ำทั่วประเทศไทย ต้นไม้ในป่าชายเลน…

Read more

‘ป่าแอมะซอน’ ถูกถางสร้างถนน เพื่อ COP30 ยั่งยืนหรือหายนะ?

“ป่าแอมะซอน” สะเทือน เมื่อบราซิลตัดป่า สร้างทางหลวง 4 เลนใหม่ ก่อนประชุมสภาพภูมิอากาศ COP30 หลายคนตั้งคำถาม การตัดไม้ทําลายป่า ขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของการประชุมสุดยอดทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ ในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักข่าว BBC ได้เผยแพร่รายงานที่สร้างความตื่นตัวในวงกว้าง โดยระบุว่า ทางหลวงสี่เลนสายใหม่ กำลังถูกก่อสร้างตัดผ่านป่าแอมะซอน ซึ่งเป็นพื้นที่คุ้มครองทางธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศโลก ถนนเส้นนี้มีชื่อว่า “Avenida Liberdade”…

Read more

13 มีนาคม ‘วันช้างไทย’ ร่วมปกป้องมรดกแห่งชาติ

    “วันช้างไทย” 13 มีนาคม วันแห่งความภาคภูมิใจในสัตว์ประจำชาติที่เคยยิ่งใหญ่ในอดีต แต่ปัจจุบันช้างป่าและช้างเลี้ยง เหลือเพียงไม่กี่พันตัว ท่ามกลางวิกฤตต่างๆ มาร่วมเรียนรู้และหาทางรักษาช้างไทยให้คงอยู่กับเราตลอดไป     วันที่ 13 มีนาคมของทุกปี ถือเป็น “วันช้างไทย” ซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อให้คนไทยตระหนักถึงความสำคัญของช้าง สัตว์ประจำชาติที่มีบทบาทสำคัญ ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และระบบนิเวศของประเทศไทย…

Read more

การปลูกป่า เพิ่มพื้นที่สีเขียว แนวทางการสร้าง ‘ปอดของโลก’ ที่ยั่งยืน

หลายเมืองให้ความสำคัญกับการปลูกป่าหรือเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อรับมือโลกร้อนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งวิธีการของแต่ละเมืองล้วนมีความน่าสนใจ

Read more

EUDR ‘สินค้าปลอดการตัดไม้ทำลายป่า’ ความท้าทาย ที่ไทยต้องเผชิญ

ทำความรู้จักกับ “กฎหมาย EUDR” ควบคุมค้า “สินค้าปลอดการตัดไม้ทำลายป่า” ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทย โอกาสหรืออุปสรรคในอนาคต ไทยพร้อมแค่ไหน ในยุคที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลายเป็นประเด็นสำคัญระดับโลก ทำให้เมื่อ 29 มิถุนายน 2566 สหภาพยุโรป หรือ อียู ได้ประกาศให้ “สินค้าปลอดการตัดไม้ทำลายป่า” EU Deforestation Regulation:…

Read more

สวีเดนใช้กลยุทธ์ ‘ตัดไม้แต่ได้ป่า’ เล็งปั้นแพร่เป็นเมืองไม้ยั่งยืนครบวงจร

สวีเดน พัฒนาอุตสาหกรรมไม้อย่างครบวงจรจนเป็นผู้ส่งออกไม้และเยื่อกระดาษติด 5 อันดับแรกของโลก และยังรักษาพื้นที่ป่าในประเทศได้กว่า 70%

Read more

‘วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า’ ประโยชน์ หรือความเสี่ยงอนาคตช้างป่าไทย

“วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า” จะเป็นทางออกที่ยั่งยืน ในการลดความขัดแย้งระหว่าง คนกับช้าง หรือเป็นเพียงการแก้ปัญหาที่ไม่ตรงจุด ขณะที่ จำนวนประชากรช้างป่า เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ  “คุ้มครองช้างดีหรือยัง? ถึงเลือกวิธีคุมกำเนิดช้าง เรื่องนี้คงต้องถกกันยาวๆ  วัคซีนคุมกำเนิดแก้ปัญหาช้างป่าได้จริงหรือ ในเมื่อช้างพูดไม่ได้ ดังนั้น ผมขอเป็นกระบอกเสียงแทนช้าง” เสียงค้านจาก ชัยวัฒน์ ลิ้มลิขิตอักษร อดีตผู้อำนวยการ สำนักอุทยานฯ พลันที่ “วัคซีนคุมกำเนิดช้างป่า”…

Read more

14 มกราคม ‘วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ’ ร่วมปกป้องผืนป่าไทย

วันที่ 14 มกราคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ” เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับประชาชนเกี่ยวกับความสำคัญของป่าไม้ และผลกระทบจากการตัดไม้ทำลายป่า โดยเฉพาะในประเทศไทย ที่มีทรัพยากรป่าไม้ลดลงอย่างต่อเนื่อง อัตราการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ เฉลี่ย 10 สนามฟุตบอล/ชั่วโมง การกำหนด “วันอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แห่งชาติ” เริ่มต้นเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2532 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งชาติ…

Read more

‘เลียงผา’ นักสู้แห่งขุนเขา กับ 3 ปัจจัย สูญพันธุ์

“เลียงผา” นักสู้แห่งขุนเขา 1 ใน 21 สัตว์ป่าสงวน ของประเทศไทย กับ 3 ปัจจัย แนวโน้ม (ใกล้) สูญพันธุ์  สภาพแวดล้อม บุกรุกป่า ฆ่าเพื่อทำยา การอวดโฉมของ “เลียงผา” สัตว์ที่ขึ้นชื่อว่า เป็นนักปีนหน้าผาผู้เก่งกาจ และพบเจอได้ยาก ปรากฎอยู่บนยอดเขาหินปูนสูงชัน…

Read more

มีอะไรอยู่ใน “ป่าแอมะซอน”

แหล่งผลิตออกซิเจนของโลก ป่าฝนแอมะซอนถูกขนานนามว่าเป็น “ปอดของโลก” เพราะผลิตออกซิเจนมากกว่า 20 % ของทั้งโลก ทั้งยังช่วยกำจัดคาร์บอนจำนวนมหาศาลออกจากชั้นบรรยากาศซึ่งสามารถช่วยชะลอภาวะโลกร้อนให้มนุษย์เราได้ Fernando Espírito-Santo นักวิจัย Jet Propulsion Lab ขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซ่า) ค้นพบว่า ต้นไม้ในแอมะซอนสามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากกว่า 2,200 ล้านตัน/ปี แต่เหตุการณ์การลุกลามของไฟป่าครั้งนี้กำลังจะเปลี่ยนสถานะแอมะซอน จากแหล่งกักเก็บคาร์บอนเป็นแหล่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์แทน…

Read more