Climate Change

คาดอุณหภูมิสุดขั้ว ทำ ‘สเปนโปรตุเกสไฟดับ’ ครั้งใหญ่

สเปนและโปรตุเกสเผชิญไฟฟ้าดับครั้งใหญ่ มืดมิดไปทั้งคาบสมุทรไอบีเรีย คาด เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิรุนแรงอาจก่อให้เกิด “การสั่นของบรรยากาศเหนี่ยวนำ” ที่ทำลายโครงข่ายไฟฟ้า สร้างความโกลาหลทั่วภูมิภาค 

Read more

สัญญาณเตือนอะไร? ‘แมงกะพรุน’ นับหมื่น เกยหาดระยอง

ปรากฏการณ์มหัศจรรย์ ฝูง “แมงกะพรุน” นับหมื่นเกยตื้นหาดนภาธาราภิรมย์ จ.ระยอง สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศทางทะเล ที่อาจเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และภาวะโลกร้อน หรือไม่ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2568 ชายหาดนภาธาราภิรมย์ หรือที่รู้จักกันในชื่อหาด EOD ในเขตพื้นที่กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวและชาวบ้าน เมื่อเกิดปรากฏการณ์ฝูงแมงกะพรุนหลากสีจำนวนมหาศาลนับหมื่นตัวพากันเกยตื้นบนชายหาด…

Read more

วิกฤต ‘โลมา’ เจอมลพิษและภาวะโลกร้อน คุกคาม

“โลมา” กำลังเผชิญกับภัยคุกคามร้ายแรง จากมลพิษทางเคมี และภาวะน้ำทะเลอุ่นขึ้น ผลตรวจพบสารพิษในเนื้อเยื่อในระดับที่น่าเป็นห่วง ในน่านน้ำรอบสหราชอาณาจักร โลมาปากสั้นกำลังเผชิญภัยคุกคามร้ายแรงจากมลพิษทางเคมีและภาวะน้ำทะเลที่อุ่นขึ้น ผลกระทบจากสารพิษที่สะสมในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมกำลังทำให้สุขภาพของโลมาแย่ลง ส่งผลให้โลมาเกยตื้นตายในอัตราที่น่าตกใจ นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า หากไม่มีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน อนาคตของโลมาและระบบนิเวศทางทะเลอาจตกอยู่ในความเสี่ยง มลพิษเคมี: ภัยเงียบที่ยังคงอยู่ หนึ่งในภัยคุกคามสำคัญคือ ไบฟีนิลโพลีคลอรีเนต (PCB) สารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายในอดีต แม้ว่าสหราชอาณาจักรจะสั่งห้ามใช้ PCB ตั้งแต่ทศวรรษ 1980…

Read more

ทำไม? ‘โลกร้อน’ ถึงทำภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น

ฤดูใบไม้ผลิ 2025 ชาวอเมริกันเผชิญอาการภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น นักวิทยาศาสตร์ ยืนยัน ภาวะโลกร้อน เป็นตัวการสำคัญที่เพิ่มละอองเกสรและมลพิษ เมื่อฤดูใบไม้ผลิมาถึง ชาวอเมริกันนับล้านต้องเผชิญกับอาการภูมิแพ้ตามฤดูกาลที่คุ้นเคย ตั้งแต่จาม น้ำมูกไหล ไปจนถึงตาแดงและไซนัสอักเสบ แต่ในปี 2025 อาการเหล่านี้ดูเหมือนจะรุนแรงกว่าที่เคย นักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอุณหภูมิที่สูงขึ้นและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฤดูภูมิแพ้ยาวนานและรุนแรงขึ้น ภาวะโลกร้อน:…

Read more

อิรักจมฝุ่น ‘พายุทราย’ พัดถล่ม เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีส้ม

    สภาพอากาศสุดขั้ว กำลังทำงาน “พายุทราย” ครั้งใหญ่พัดถล่มอิรัก เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีแดงฉาน ราววันสิ้นโลก สร้างวิกฤตสุขภาพ และหยุดชะงักการคมนาคม   นับตั้งแต่วันที่ 14 เม.ย. 2568 อิรักเผชิญพายุทรายครั้งใหญ่ที่สุดของปี พัดถล่มพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ ส่งผลให้ท้องฟ้ากลายเป็นสีส้ม ทัศนวิสัยลดลงเหลือไม่ถึง 1 กิโลเมตร และประชาชนมากกว่า…

Read more

หากอุณหภูมิโลกทะลุ 4 องศาเซลเซียส คนทั่วไปจะยากจนลง 40%

งานวิจัยใหม่ระบุว่า ภาวะโลกร้อนที่จะทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 4 องศาเซลเซียส จะกลายเป็นหายนะสำหรับโลก ที่ส่งผลกระทบต่อผู้คนทั่วไปยากจนลงถึง 40% ตามรายงานการศึกษาฉบับใหม่พบว่า หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 4 องศาเซลเซียส จะทำให้คนทั่วไปยากจนลงถึง 40% ซึ่งสูงกว่าการประเมินก่อนหน้านี้เกือบ 4 เท่า งานวิจัยโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียชี้ว่า GDP ต่อหัวเฉลี่ยของโลกจะลดลง 16% แม้ว่าเราจะสามารถควบคุมภาวะโลกร้อนไว้ที่ 2…

Read more

อีก 5 ปี โลกกำลังขาดแคลนน้ำ เพราะ AI ใช้น้ำมากกว่าที่คิด

  อีก 5 ปี โลกกำลังจะขาดแคลนน้ำ เพราะ AI ใช้น้ำมากกว่าที่คิด แค่ถามคำถาม 10-50 ข้อกับ ChatGPT อาจใช้น้ำถึง 2 ลิตร  ขณะที่ข้อมูลระบุ Google ใช้น้ำเพิ่มขึ้น 20% ในช่วงเวลาเดียวกัน ถึง 5.56…

Read more

‘นากทะเล’ วีรบุรุษแห่งการต่อสู้กับภาวะโลกร้อนในท้องทะเล

จุดประกายความหวังใหม่ เมื่อนักวิจัยค้นพบ บทบาทสำคัญในการฟื้นตัวของสาหร่ายทะเล มาจาก “นากทะเล” วีรบุรุษแห่งการต่อสู้กับภาวะโลกร้อนในท้องทะเล สาหร่ายทะเลมีบทบาทสำคัญทั้งในระบบนิเวศและชีวิตมนุษย์ และยังช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ลดภาวะโลกร้อน และบางชนิดใช้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นพลังงานทางเลือกที่ยั่งยืน แต่สาหร่ายทะเล กำลังเผชิญภัยคุกคามจากมลพิษ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวของสัตว์กินพืช เช่น เม่นทะเล ที่เพิ่มขึ้น นากทะเล: ผู้ฟื้นฟูป่าสาหร่ายทะเล และความซับซ้อนของระบบนิเวศ แต่เมื่อนากทะเลกลับคืนสู่เกาะต่างๆ…

Read more

การพึ่งพาเทคโนโลยีลดคาร์บอน นวัตกรรมโอบอุ้มโลกสู่ Net Zero

การพึ่งพาเทคโนโลยีลดคาร์บอนจะเป็นหนึ่งในกุญแจสำคัญในการแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อย่างเช่น การดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศ

Read more

โลกร้อนทำงาน ‘พายุไซโคลนอัลเฟรด’ ถล่มออสเตรเลีย แบบผิดปกติ

      “พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย ประกาศเตือนภัยฉุกเฉิน แต่นักพยากรณ์อากาศ พบเส้นทางการเคลื่อนตัวที่ผิดปกติ จนถึงขั้นกังวล เพราะเส้นทางที่ไม่ธรรมดาของ “อัลเฟรด” เป็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ       “พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย เมื่อวันเสาร์ 8 มีนาคม 2568 ส่งผลให้เกิดน้ำท่วม…

Read more