โลกร้อน

‘PES’ กลไกเศรษฐกิจสีเขียว ฟื้นธรรมชาติยั่งยืน

รู้จัก “PES” กลไกเศรษฐกิจรักษาป่า-ลดไฟป่า ให้ผู้ได้รับประโยชน์จ่ายค่าตอบแทนระบบนิเวศ กลไกใหม่เพื่อธรรมชาติและชุมชน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ปัญหาไฟป่าที่ลุกลามป่าต้นน้ำของไทยไม่เพียงแต่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้นทุกปี ประเทศไทยจึงมีแนวคิด “กลไกการจ่ายค่าตอบแทนบริการระบบนิเวศ” หรือ PES (Payment for Ecosystem Services) มาใช้เป็นเครื่องมือใหม่ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ดร.บัณทูร เศรษฐศิโรฒน์ ผู้อำนวยการสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม อธิบายว่า…

Read more

สัญญาณเตือนอะไร? ‘แมงกะพรุน’ นับหมื่น เกยหาดระยอง

ปรากฏการณ์มหัศจรรย์ ฝูง “แมงกะพรุน” นับหมื่นเกยตื้นหาดนภาธาราภิรมย์ จ.ระยอง สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศทางทะเล ที่อาจเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และภาวะโลกร้อน หรือไม่ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2568 ชายหาดนภาธาราภิรมย์ หรือที่รู้จักกันในชื่อหาด EOD ในเขตพื้นที่กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวและชาวบ้าน เมื่อเกิดปรากฏการณ์ฝูงแมงกะพรุนหลากสีจำนวนมหาศาลนับหมื่นตัวพากันเกยตื้นบนชายหาด…

Read more

22 เม.ย. ‘วันคุ้มครองโลก’ สร้างโลกสวย ด้วยมือเรา

22 เมษายน “วันคุ้มครองโลก” มุ่งมั่นพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เน้นย้ำความสำคัญของการลดมลพิษและอนุรักษ์ทรัพยากร เพื่อสร้างสมดุลธรรมชาติ และความยั่งยืนให้โลก  ทุกวันที่ 22 เมษายนของแต่ละปี ทั่วโลกจะร่วมเฉลิมฉลอง วันคุ้มครองโลก (Earth Day) ซึ่งเป็นวันที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการดำเนินการเพื่อปกป้องโลกของเราให้คงอยู่เพื่อคนรุ่นต่อไป ในปี 2025 นี้ วันคุ้มครองโลกยังคงเป็นโอกาสสำคัญที่เราจะได้ทบทวนบทบาทของตัวเองในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและต่อสู้กับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงขึ้น ที่มาของวันคุ้มครองโลก วันคุ้มครองโลกเริ่มต้นครั้งแรกในปี 1970…

Read more

วิกฤต ‘โลมา’ เจอมลพิษและภาวะโลกร้อน คุกคาม

“โลมา” กำลังเผชิญกับภัยคุกคามร้ายแรง จากมลพิษทางเคมี และภาวะน้ำทะเลอุ่นขึ้น ผลตรวจพบสารพิษในเนื้อเยื่อในระดับที่น่าเป็นห่วง ในน่านน้ำรอบสหราชอาณาจักร โลมาปากสั้นกำลังเผชิญภัยคุกคามร้ายแรงจากมลพิษทางเคมีและภาวะน้ำทะเลที่อุ่นขึ้น ผลกระทบจากสารพิษที่สะสมในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมกำลังทำให้สุขภาพของโลมาแย่ลง ส่งผลให้โลมาเกยตื้นตายในอัตราที่น่าตกใจ นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า หากไม่มีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน อนาคตของโลมาและระบบนิเวศทางทะเลอาจตกอยู่ในความเสี่ยง มลพิษเคมี: ภัยเงียบที่ยังคงอยู่ หนึ่งในภัยคุกคามสำคัญคือ ไบฟีนิลโพลีคลอรีเนต (PCB) สารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายในอดีต แม้ว่าสหราชอาณาจักรจะสั่งห้ามใช้ PCB ตั้งแต่ทศวรรษ 1980…

Read more

ทำไม? ‘โลกร้อน’ ถึงทำภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น

ฤดูใบไม้ผลิ 2025 ชาวอเมริกันเผชิญอาการภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น นักวิทยาศาสตร์ ยืนยัน ภาวะโลกร้อน เป็นตัวการสำคัญที่เพิ่มละอองเกสรและมลพิษ เมื่อฤดูใบไม้ผลิมาถึง ชาวอเมริกันนับล้านต้องเผชิญกับอาการภูมิแพ้ตามฤดูกาลที่คุ้นเคย ตั้งแต่จาม น้ำมูกไหล ไปจนถึงตาแดงและไซนัสอักเสบ แต่ในปี 2025 อาการเหล่านี้ดูเหมือนจะรุนแรงกว่าที่เคย นักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอุณหภูมิที่สูงขึ้นและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฤดูภูมิแพ้ยาวนานและรุนแรงขึ้น ภาวะโลกร้อน:…

Read more

‘โรงน้ำแข็งพิษณุโลก’ ติดโซลาร์เซลล์ ลดค่าไฟ-โลกร้อน

    จากภาระค่าไฟสู่พลังงานยั่งยืน โรงงานน้ำแข็ง จ.พิษณุโลก เดินหน้าสู่พลังงานสะอาด ด้วยการติดโซลาร์เซลล์ ลดต้นทุนค่าไฟหลักแสนต่อเดือน   ท่ามกลางสภาพอากาศร้อนจัดในจังหวัดพิษณุโลก และค่าไฟฟ้าที่พุ่งสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจโรงงานน้ำแข็งต้องเผชิญกับความท้าทายครั้งใหญ่จากภาระต้นทุนพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นทุกวัน โรงงานน้ำแข็งวังทิพย์ ตั้งอยู่ที่ ต.โคกสลุด อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก ซึ่งเป็นโรงงานน้ำแข็งที่ใหญ่ที่สุดในพื้นที่ ได้ตัดสินใจลงทุนติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาโรงงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงถึงหลักล้านบาทต่อเดือน การตัดสินใจครั้งนี้ไม่เพียงช่วยประคองธุรกิจให้อยู่รอด แต่ยังเป็นก้าวสำคัญสู่การใช้พลังงานสะอาด…

Read more

Climate Risk Index ดัชนีชี้วัดประเทศเสี่ยงสูงจากสภาพอากาศสุดขั้ว

CRI ดำเนินงานโดย Germanwatch ก่อตั้งปี 1991 เป็น NGO ด้านการพัฒนาและสภาพภูมิอากาศที่ทรงอิทธิพลมาร่วม 30 ปี มีบทบาท คือการวิเคราะห์และจัดอันดับประเทศเสี่ยงสูงจากสภาพอากาศสุดขั้ว เช่น พายุ น้ำท่วม คลื่นความร้อน และภัยแล้ง ใช้ฐานข้อมูล จากจำนวนผู้เสียชีวิต ความเสียหายทางเศรษฐกิจ และจำนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ใช้วิธีการประเมินผลย้อนหลัง…

Read more

อิรักจมฝุ่น ‘พายุทราย’ พัดถล่ม เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีส้ม

    สภาพอากาศสุดขั้ว กำลังทำงาน “พายุทราย” ครั้งใหญ่พัดถล่มอิรัก เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีแดงฉาน ราววันสิ้นโลก สร้างวิกฤตสุขภาพ และหยุดชะงักการคมนาคม   นับตั้งแต่วันที่ 14 เม.ย. 2568 อิรักเผชิญพายุทรายครั้งใหญ่ที่สุดของปี พัดถล่มพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ ส่งผลให้ท้องฟ้ากลายเป็นสีส้ม ทัศนวิสัยลดลงเหลือไม่ถึง 1 กิโลเมตร และประชาชนมากกว่า…

Read more

12 เม.ย. ‘วันป่าชุมชนชายเลนไทย’ รักษ์ผืนป่าชายฝั่ง เพื่อความยั่งยืน

“วันป่าชุมชนชายเลนไทย” 12 เมษายน ร่วมปกป้องและฟื้นฟูป่าชายเลน สมบัติล้ำค่าที่หล่อเลี้ยงชีวิต และปกป้องแผ่นดิน ร่วมกันสานต่อความยั่งยืนให้ป่าชายเลนคงอยู่เพื่ออนาคต วันที่ 12 เมษายนของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันป่าชุมชนชายเลนไทย” เพื่อรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของป่าชายเลน ซึ่งเป็นหนึ่งในทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่ามหาศาลของประเทศไทย ป่าชายเลนไม่เพียงเป็นแหล่งทรัพยากรที่หล่อเลี้ยงวิถีชีวิตของชุมชนชายฝั่ง แต่ยังเป็นกำแพงธรรมชาติที่ปกป้องแผ่นดินจากภัยพิบัติ และเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ป่าชายเลน: สมบัติล้ำค่าของชายฝั่งไทย ป่าชายเลนคือพื้นที่ป่าไม้ที่เติบโตในบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นดินและทะเล พบได้ตามชายฝั่งและปากแม่น้ำทั่วประเทศไทย ต้นไม้ในป่าชายเลน…

Read more

Global Risks Report 2025 ย้ำ โลกสู่ยุคเปลี่ยนแปลงที่ไม่อาจย้อนกลับ

โลกกำลังเดินหน้าสู่จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ โดยรายงาน Global Risks Report 2025 จาก World Economic Forum (WEF) เผยว่า วิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสภาพอากาศรุนแรง และ การล่มสลายของระบบนิเวศที่กำลังเป็นภัยคุกคามที่สำคัญที่สุดของมนุษยชาติ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ท่ามกลางโลกที่กำลังเผชิญกับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ การแบ่งขั้วทางสังคม และภัยคุกคามจากสงครามที่ขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้เศรษฐกิจโลกจะค่อย ๆ…

Read more