กองทุนสื่อ

ความหวังจาก ‘คาร์บอนเครดิต’หนึ่งในอาวุธ สู้วิกฤตโลกรวน

ในวันที่โลกกำลังต่อสู้กับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากขึ้นเรื่อย ๆ เห็นได้ชัดเจนจากการเกิดภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำ ไฟป่ารุนแรง ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำท่วม น้ำแข็งขั้วโลกละลาย วาตภัยขนาดใหญ่ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่น ๆ

Read more

ภาวะโลกร้อนเขย่าวิกฤตอาหารโลก ผลผลิตลด คนหิวโหย อันตรายถึงชีวิต

ความหิวล้อมเราไว้หมดแล้ว! ในวันที่โลกกำลังตกอยู่ท่ามกลาง “วิกฤตอาหาร” ซึ่งร้ายแรงอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เนื่องจากประชากรบางกลุ่มไม่มีอาหารสำหรับบริโภคอย่างเพียงพอ ทั้งยังขาดแคลนอาหารปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ

Read more

ถ้าบริหารจัดการน้ำเหมือนปี 54วิกฤตอุทกภัยอาจเลวร้ายยิ่งกว่า

ไทยเป็นประเทศที่ได้รับผลกระทบระยะยาวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากเป็นอันดับ 9 ของโลก โดยตั้งแต่ปี 2543 จนถึง 2562 ไทยได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติถึง 146 ครั้ง กระทบ GDP ถึงร้อยละ 0.82 โดยเฉพาะมหาอุทกภัยในปี 2554 เป็นอุทกภัยรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยธนาคารโลกประเมินว่า มหาอุทกภัยครั้งเลวร้ายที่สุดนี้มีมูลค่าความเสียหายสูงถึง 1.44 ล้านล้านบาท

Read more

ประเทศไทยเอาไงดี? ส่องความคืบหน้าแผนรับมือโลกร้อน

จากสถานการณ์โลกปัจจุบันที่ประเทศทั่วโลกต่างต้องประสบกับนานาวิกฤตรายล้อมที่ต้องจัดการ แต่ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังถือเป็นความท้าทายใหญ่ที่สุดที่ประชาคมโลกต้องร่วมกันรับมือแก้ไข โดยมีภารกิจสำคัญร่วมกันในการเร่งดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน เพื่อที่จะควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกให้เป็นไปตามเป้าหมายหมายความตกลงปารีสไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส

Read more

ผลกระทบอากาศสุดขั้ว ภัยคุกคาม ‘สุขภาพมนุษยชาติ’ ครั้งใหญ่ที่สุด

สภาวะโลกร้อนไม่เพียงทำให้ผู้คนทั่วทุกมุมโลกต้องเผชิญความเสียหายจากความแปรปรวนของภูมิอากาศและภัยธรรมชาติที่รุนแรงอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน แต่ยังส่งผลให้เกิดความเสี่ยงจากความเจ็บป่วย และโรคระบาดใหม่ ๆ ต่อมนุษยชาติด้วยเช่นกัน

Read more

อุณหภูมิโลกระอุต่อเนื่อง เตรียมรับมือผลกระทบคลื่นความร้อนสุดขั้ว ปี 67

ภายหลังโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติภูมิอากาศอย่างหนักหนาสาหัสมาตลอดทั้งปี 2566 โดยเฉพาะภัยจากคลื่นความร้อนสุดขั้ว ที่ส่งผลให้ปี 2566 ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึก อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สถิตินี้อาจมีอายุไม่ยืดนัก เพราะเราอาจจะต้องเจอกับปีที่ร้อนจัดยิ่งกว่าในปี 2567

Read more

อุณหภูมิโลกเสี่ยงสูงเกินต้าน ไทยเตรียมเผชิญ ‘ปิศาจคลื่นความร้อน’

ปี 2566 เป็นปีที่มีอุณหภูมิสูงที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกกันมา โดยอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1.4 องศาเซลเซียส จากค่าพื้นฐานในช่วงปี 2359-2443 ซึ่งเป็นช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม โดยสูงกว่าปี 2559 และ 2563 ที่เคยทำสถิติสูงสุดมาก่อนหน้านี้ ซึ่งสาเหตุหลักเกิดจากปรากฎการณ์เอลนีโญที่ทำให้เกิดภาวะแล้งที่ยาวนาน นอกจากนี้ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 50% จากยุคก่อนอุตสาหกรรมปกคลุมชั้นบรรยากาศ ทำให้ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนออกไปได้ (1)

Read more

คลื่นความร้อนมันร้าย!

ในแต่ละปีคลื่นความร้อนคร่าชีวิตคนจำนวนมากแต่มักถูกมองข้าม จึงเป็นภัยเงียบใกล้ตัวที่ต้องกระตุ้นเตือนให้ประชาชนตระหนักพร้อมรับมืออย่างเท่าทัน

Read more

สภาวะโลกเดือด เบื้องหลังภัยพิบัติ ‘สุดขั้ว’ ปี 66

สังเกตกันไหมว่าตลอดช่วงปี 2566 เรามักเห็นข่าวภัยพิบัติเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลก นับตั้งแต่คลื่นความร้อนรุนแรง ภัยแล้งหนักสุดในประวัติศาสตร์ ไฟป่าลามเผาทั้งเมืองวอดวาย หรือแม้กระทั่งพายุฝนถล่มเมืองกลางทะเลทรายจนเมืองจมน้ำ จนนับได้ว่าปี 2566 ถือเป็นปีที่โลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติร้ายแรงเป็นประวัติการณ์ (1) ก้าวเข้าสู่ปีใหม่ 2567 จึงเป็นโอกาสอันดีที่เราจะได้มาทบทวนถึงสถานการณ์ภัยพิบัติที่ได้สร้างความเสียหายมหาศาลต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนทั่วโลกตลอดปีที่ผ่านมา เพื่อที่จะทำความเข้าใจความร้ายแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เราทุกคนกำลังเผชิญ ปีแห่งความแห้งแล้ง ไฟป่า และคลื่นความร้อน เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ อันโตนิโอ กุเตอเรส…

Read more

วังวนทศวรรษคนจมฝุ่น มลพิษ PM2.5

PM2.5 เป็นหนึ่งในมลพิษอากาศที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นและเป็นอันตรายต่อสุขภาพมาต่อเนื่องกว่า 10 ปี กระทั่งในปี 2562 คณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ มีมติเพิ่มเติมให้ “การแก้ไขปัญหามลภาวะด้านฝุ่นละออง” เป็น “วาระแห่งชาติ”

Read more