รู้จัก “PES” กลไกเศรษฐกิจรักษาป่า-ลดไฟป่า ให้ผู้ได้รับประโยชน์จ่ายค่าตอบแทนระบบนิเวศ กลไกใหม่เพื่อธรรมชาติและชุมชน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ปัญหาไฟป่าที่ลุกลามป่าต้นน้ำของไทยไม่เพียงแต่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจรุนแรงขึ้นทุกปี ประเทศไทยจึงมีแนวคิด “กลไกการจ่ายค่าตอบแทนบริการระบบนิเวศ” หรือ PES (Payment for Ecosystem Services) มาใช้เป็นเครื่องมือใหม่ในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ดร.บัณทูร เศรษฐศิโรฒน์ ผู้อำนวยการสถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม อธิบายว่า …
climatechange
สเปนและโปรตุเกสเผชิญไฟฟ้าดับครั้งใหญ่ มืดมิดไปทั้งคาบสมุทรไอบีเรีย คาด เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิรุนแรงอาจก่อให้เกิด “การสั่นของบรรยากาศเหนี่ยวนำ” ที่ทำลายโครงข่ายไฟฟ้า สร้างความโกลาหลทั่วภูมิภาค
ปรากฏการณ์มหัศจรรย์ ฝูง “แมงกะพรุน” นับหมื่นเกยตื้นหาดนภาธาราภิรมย์ จ.ระยอง สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศทางทะเล ที่อาจเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และภาวะโลกร้อน หรือไม่ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2568 ชายหาดนภาธาราภิรมย์ หรือที่รู้จักกันในชื่อหาด EOD ในเขตพื้นที่กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวและชาวบ้าน เมื่อเกิดปรากฏการณ์ฝูงแมงกะพรุนหลากสีจำนวนมหาศาลนับหมื่นตัวพากันเกยตื้นบนชายหาด …
“หลุมยุบ เกิดจากอะไร” หลังกระบี่สะเทือน เกิดหลุมยุบขนาดใหญ่กว้าง 20 เมตร ในสวนปาล์มน้ำมัน สันนิษฐานเชื่อมโยงแผ่นดินไหว 3.5 ขณะเจ้าหน้าที่เร่งตรวจสอบสาเหตุและกั้นพื้นที่เสี่ยง ในช่วงวันที่ 19 เมษายน 2568 จังหวัดกระบี่ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ที่สร้างความตื่นตระหนกให้กับชาวบ้าน เมื่อเกิด หลุมยุบขนาดใหญ่ บริเวณสวนปาล์มน้ำมันในพื้นที่หมู่ 10 ตำบลพรุเตียว อำเภอเขาพนม หลุมดังกล่าวมีขนาดกว้างประมาณ …
“โลมา” กำลังเผชิญกับภัยคุกคามร้ายแรง จากมลพิษทางเคมี และภาวะน้ำทะเลอุ่นขึ้น ผลตรวจพบสารพิษในเนื้อเยื่อในระดับที่น่าเป็นห่วง ในน่านน้ำรอบสหราชอาณาจักร โลมาปากสั้นกำลังเผชิญภัยคุกคามร้ายแรงจากมลพิษทางเคมีและภาวะน้ำทะเลที่อุ่นขึ้น ผลกระทบจากสารพิษที่สะสมในร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมกำลังทำให้สุขภาพของโลมาแย่ลง ส่งผลให้โลมาเกยตื้นตายในอัตราที่น่าตกใจ นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า หากไม่มีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน อนาคตของโลมาและระบบนิเวศทางทะเลอาจตกอยู่ในความเสี่ยง มลพิษเคมี: ภัยเงียบที่ยังคงอยู่ หนึ่งในภัยคุกคามสำคัญคือ ไบฟีนิลโพลีคลอรีเนต (PCB) สารเคมีที่ใช้ในอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลายในอดีต แม้ว่าสหราชอาณาจักรจะสั่งห้ามใช้ PCB ตั้งแต่ทศวรรษ 1980 …
ฤดูใบไม้ผลิ 2025 ชาวอเมริกันเผชิญอาการภูมิแพ้ ยาวนาน และรุนแรงขึ้น นักวิทยาศาสตร์ ยืนยัน ภาวะโลกร้อน เป็นตัวการสำคัญที่เพิ่มละอองเกสรและมลพิษ เมื่อฤดูใบไม้ผลิมาถึง ชาวอเมริกันนับล้านต้องเผชิญกับอาการภูมิแพ้ตามฤดูกาลที่คุ้นเคย ตั้งแต่จาม น้ำมูกไหล ไปจนถึงตาแดงและไซนัสอักเสบ แต่ในปี 2025 อาการเหล่านี้ดูเหมือนจะรุนแรงกว่าที่เคย นักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะอุณหภูมิที่สูงขึ้นและระดับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้น เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้ฤดูภูมิแพ้ยาวนานและรุนแรงขึ้น ภาวะโลกร้อน: …
CRI ดำเนินงานโดย Germanwatch ก่อตั้งปี 1991 เป็น NGO ด้านการพัฒนาและสภาพภูมิอากาศที่ทรงอิทธิพลมาร่วม 30 ปี มีบทบาท คือการวิเคราะห์และจัดอันดับประเทศเสี่ยงสูงจากสภาพอากาศสุดขั้ว เช่น พายุ น้ำท่วม คลื่นความร้อน และภัยแล้ง ใช้ฐานข้อมูล จากจำนวนผู้เสียชีวิต ความเสียหายทางเศรษฐกิจ และจำนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ใช้วิธีการประเมินผลย้อนหลัง …
สภาพอากาศสุดขั้ว กำลังทำงาน “พายุทราย” ครั้งใหญ่พัดถล่มอิรัก เปลี่ยนท้องฟ้าเป็นสีแดงฉาน ราววันสิ้นโลก สร้างวิกฤตสุขภาพ และหยุดชะงักการคมนาคม นับตั้งแต่วันที่ 14 เม.ย. 2568 อิรักเผชิญพายุทรายครั้งใหญ่ที่สุดของปี พัดถล่มพื้นที่ตอนกลางและตอนใต้ของประเทศ ส่งผลให้ท้องฟ้ากลายเป็นสีส้ม ทัศนวิสัยลดลงเหลือไม่ถึง 1 กิโลเมตร และประชาชนมากกว่า …
งานวิจัยใหม่ระบุว่า ภาวะโลกร้อนที่จะทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 4 องศาเซลเซียส จะกลายเป็นหายนะสำหรับโลก ที่ส่งผลกระทบต่อผู้คนทั่วไปยากจนลงถึง 40% ตามรายงานการศึกษาฉบับใหม่พบว่า หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 4 องศาเซลเซียส จะทำให้คนทั่วไปยากจนลงถึง 40% ซึ่งสูงกว่าการประเมินก่อนหน้านี้เกือบ 4 เท่า งานวิจัยโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียชี้ว่า GDP ต่อหัวเฉลี่ยของโลกจะลดลง 16% แม้ว่าเราจะสามารถควบคุมภาวะโลกร้อนไว้ที่ 2 …
ทำความรู้จัก “รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย” มังกรหลับแห่งภาคใต้ รอยเลื่อนที่มีพลังยาว 150 กม. ครอบคลุม 4 จังหวัดภาคใต้ ที่พร้อมส่งสัญญาณเตือนภัยได้ทุกเมื่อ แผ่นดินไหวที่กระบี่ เมื่อวันที่ 14 เม.ย. 2568 ขนาด 3.5 แมกนิจูด …