งานวิจัยจากนาซ่าและมหาวิทยาลัยออสเตรเลีย ชี้ เมฆสะท้อนแสงบริเวณขั้วโลกหดตัวลง 1.5-3% ต่อทศวรรษในช่วง 24 ปี ส่งผลให้พลังงานดวงอาทิตย์ถูกกักเก็บมากขึ้น อุณหภูมิโลกพุ่งสูงเป็นประวัติการณ์ งานวิจัยจากนาซาและมหาวิทยาลัยในออสเตรเลียเผยว่า พื้นที่เมฆสะท้อนแสงบริเวณขั้วโลกหดตัวลง 1.5-3% ต่อทศวรรษในช่วง 24 ปีที่ผ่านมา ส่งผลให้พลังงานจากดวงอาทิตย์ถูกกักเก็บในชั้นบรรยากาศมากขึ้น ซ้ำเติมภาวะโลกร้อน โดยเฉพาะอุณหภูมิโลกที่พุ่งสูงเป็นประวัติการณ์ในปี 2023 และ 2024 นักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมสองประเภท …
World
NASA และนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นเผย “วันสิ้นโลก” อาจมีจริง โลกจะกลายเป็นดินแดนร้างในอีก 1,000 ล้านปี เมื่อดวงอาทิตย์ร้อนจัดจนมหาสมุทรระเหย พร้อมเตือนภัยพายุสุริยะที่อาจกระทบเร็วกว่านั้น มนุษย์จะรอดได้อย่างไร? NASA ร่วมกับทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโทโฮ ญี่ปุ่น เปิดเผยผลการศึกษาครั้งสำคัญเกี่ยวกับอนาคตของโลก โดยระบุว่า โลกจะถึงจุดจบในอีกประมาณ 1,000 ล้านปี หรือราวปี ค.ศ. 1,000,002,021 ภัยคุกคามหลักไม่ได้มาจากดาวเคราะห์น้อย …
ทองคำรั่วจากใจกลางโลก! การค้นพบใหม่เผยโลหะมีค่า รวมถึง ทองคำจากแกนโลก กำลังซึมผ่านชั้นแมนเทิลสู่พื้นผิว ผ่านแมกมาในหินภูเขาไฟที่ฮาวาย เปลี่ยนความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายธาตุในโลก การศึกษาใหม่เกี่ยวกับไอโซโทปที่พบในหินภูเขาไฟ ซึ่งเกิดจากแมกมาที่ไหลซึมจากใต้เปลือกโลก ได้เผยให้เห็นว่าโลหะมีค่า รวมถึงทองคำ กำลังรั่วไหลจากแกนโลก (core) ขึ้นสู่ชั้นแมนเทิล (mantle) และเคลื่อนที่ต่อไปจนถึงพื้นผิวโลก โดยกระบวนการนี้เกิดจากแมกมาที่นำพาความร้อนและวัสดุจากส่วนลึกของโลก “เมื่อผลการวิเคราะห์ชุดแรกออกมา เราตื่นเต้นมากที่พบว่ามีทองคำจริงๆ!” นิลส์ เมสสลิง (Nils …
เตรียมอพยพครั้งใหญ่ โลกจ่อจมน้ำ ‘แผ่นน้ำแข็งขั้วโลก’ ละลายเร็ว
แผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกากำลังละลายอย่างรวดเร็ว แม้ภาวะโลกร้อนจะถูกจำกัดที่ 1.5 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอย่างรุนแรง คุกคามชายฝั่งทั่วโลกและนำไปสู่วิกฤตการอพยพครั้งใหญ่ในอนาคตอันใกล้ ผลการวิจัยล่าสุด เผยให้เห็นภาพที่น่าสะพรึงกลัวเกี่ยวกับอนาคตของแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ซึ่งกำลังเผชิญกับการละลายอย่างรวดเร็ว แม้ว่ามนุษยชาติจะสามารถจำกัดภาวะโลกร้อนให้อยู่ที่ 1.5 องศาเซลเซียสตามเป้าหมายสากลก็ตาม การละลายนี้จะนำไปสู่ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่างรุนแรง ส่งผลให้เกิดการอพยพครั้งใหญ่จากพื้นที่ชายฝั่งทั่วโลก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เรียกว่า “หายนะ” ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติได้ทำการศึกษาอย่างละเอียด …
22 เมษายน “วันคุ้มครองโลก” มุ่งมั่นพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เน้นย้ำความสำคัญของการลดมลพิษและอนุรักษ์ทรัพยากร เพื่อสร้างสมดุลธรรมชาติ และความยั่งยืนให้โลก ทุกวันที่ 22 เมษายนของแต่ละปี ทั่วโลกจะร่วมเฉลิมฉลอง วันคุ้มครองโลก (Earth Day) ซึ่งเป็นวันที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมการดำเนินการเพื่อปกป้องโลกของเราให้คงอยู่เพื่อคนรุ่นต่อไป ในปี 2025 นี้ วันคุ้มครองโลกยังคงเป็นโอกาสสำคัญที่เราจะได้ทบทวนบทบาทของตัวเองในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและต่อสู้กับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงขึ้น ที่มาของวันคุ้มครองโลก วันคุ้มครองโลกเริ่มต้นครั้งแรกในปี 1970 …
22 มีนาคม “วันน้ำโลก” (World Water Day) ร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำเพื่ออนาคต เมื่อข้อมูลระบุว่า หากไม่มีการจัดการที่ดี ภายในปี 2030 โลกอาจเผชิญกับวิกฤตน้ำขาดแคลนถึง 40% วันน้ำโลก (World Water Day) ตรงกับวันที่ …
นักวิทยาศาสตร์ฟันธงว่า ความปั่นป่วนของสภาพอากาศเลวร้ายบนท้องฟ้าที่ทำให้สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ “ตกหลุมอากาศ” อย่างรุนแรง และต้องลงจอดฉุกเฉินที่สนามบินสุวรรณภูมิ ไม่ได้มาจากสภาพอากาศแปรปรวนธรรมดา แต่เป็นผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ Climate Change เนื่องจากผลการศึกษาพบว่า ที่ผ่านมาท้องฟ้ามีความสั่นสะเทือนมากขึ้นถึง 55% เมื่อเทียบกับ 4 ทศวรรษก่อน เนื่องจากภาวะโลกร้อนที่รุนแรงขึ้น เที่ยวบิน SQ321 สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์มุ่งหน้าจากท่าอากาศยานฮีทโธรว์ในอังกฤษปลายทางสู่ท่าอากาศยานชางงีของสิงคโปร์ ต้องเผชิญหน้ากับพายุลูกใหญ่บนท้องฟ้า โดยเจ้าหน้าที่สายการบินรายหนึ่ง …
การประชุม COP28 หรือการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศโลกที่ผ่านพ้นไปเมื่อปลายปีที่แล้ว ถูกบันทึกให้เป็น “ข้อตกลงประวัติศาสตร์” หลังจากประเทศสมาชิกเห็นชอบ “เปลี่ยนผ่าน” พลังงานฟอสซิลได้สำเร็จ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกิจกรรมของมนุษย์ทำให้วัฏจักรน้ำทั่วโลกขาดสมดุล ประชากรโลก 3.6 ล้านคนที่ขาดแคลนน้ำอย่างน้อยหนึ่งเดือนต่อปีจะเพิ่มขึ้นเป็น 5 พันล้านคนภายในปี 2050
สตอกโฮล์มสั่งห้ามรถยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินและดีเซลวิ่งในเมืองตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป เพื่อปรับปรุงคุณภาพอากาศ และลดเสียงรบกวนจากการจราจร