โลกกำลังเดินหน้าสู่จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ โดยรายงาน Global Risks Report 2025 จาก World Economic Forum (WEF) เผยว่า วิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสภาพอากาศรุนแรง และ การล่มสลายของระบบนิเวศที่กำลังเป็นภัยคุกคามที่สำคัญที่สุดของมนุษยชาติ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ท่ามกลางโลกที่กำลังเผชิญกับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ การแบ่งขั้วทางสังคม และภัยคุกคามจากสงครามที่ขยายตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้เศรษฐกิจโลกจะค่อย ๆ …
climatechange
นักวิชาการตั้งขอสันนิษฐาน “แผ่นดินไหว” เขย่ากรุง “Pancake collapse” อาจเป็นสาเหตุทำตึกถล่ม ขณะที่ยอดผู้เสียชีวิต ยืนยันอย่างเป็นทางการ 6 ราย สูญหายอีก 47 ราย ส่วนเมียนมาดับแล้วกว่า 600 ราย นายภาสกร บุญญลักษม์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย …
‘ไฟป่าเกาหลีใต้’ วิกฤต ยอดผู้เสียชีวิตพุ่ง พื้นที่ป่าสูญกว่า 2 แสนไร่
เกาหลีใต้ เผชิญวิกฤตไฟป่าครั้งรุนแรงในประวัติศาสตร์ ยอดผู้เสียชีวิตพุ่ง 26 ราย พื้นที่ป่าสูญกว่า 36,000 เฮกตาร์ หรือราวกว่า 2 แสนไร่ ต้องประกาศภาวะฉุกเฉินด้านภัยพิบัติในหลายพื้นที่ วันที่ 28 มีนาคม 2568 – เกาหลีใต้กำลังเผชิญกับสถานการณ์ไฟป่าครั้งเลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยไฟป่าที่ลุกลามอย่างรวดเร็วในจังหวัดคย็องซังเหนือและคย็องซังใต้ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ได้คร่าชีวิตผู้คนไปแล้วอย่างน้อย 26 …
อีก 5 ปี โลกกำลังจะขาดแคลนน้ำ เพราะ AI ใช้น้ำมากกว่าที่คิด แค่ถามคำถาม 10-50 ข้อกับ ChatGPT อาจใช้น้ำถึง 2 ลิตร ขณะที่ข้อมูลระบุ Google ใช้น้ำเพิ่มขึ้น 20% ในช่วงเวลาเดียวกัน ถึง 5.56 …
“ป่าแอมะซอน” สะเทือน เมื่อบราซิลตัดป่า สร้างทางหลวง 4 เลนใหม่ ก่อนประชุมสภาพภูมิอากาศ COP30 หลายคนตั้งคำถาม การตัดไม้ทําลายป่า ขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ของการประชุมสุดยอดทางสภาพภูมิอากาศหรือไม่ ในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักข่าว BBC ได้เผยแพร่รายงานที่สร้างความตื่นตัวในวงกว้าง โดยระบุว่า ทางหลวงสี่เลนสายใหม่ กำลังถูกก่อสร้างตัดผ่านป่าแอมะซอน ซึ่งเป็นพื้นที่คุ้มครองทางธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศโลก ถนนเส้นนี้มีชื่อว่า “Avenida Liberdade” …
ความถี่และความรุนแรงของภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดเพิ่มขึ้นมากกว่า 70% เมื่อเทียบกับ 20 ปีที่ผ่านมา อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะรุนแรงมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้หลายประเทศในโลกต้องเร่งดำเนินการตั้งเป้าหมายและเริ่มกระบวนการเปลี่ยนผ่านไปสู่ “เศรษฐกิจสีเขียว” เพื่อแก้ไขปัญหาภัยพิบัติที่มีสาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้สามารถรับมือได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว (1) ไทยเองไม่สามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบจากวิกฤตการณ์ดังกล่าวได้เช่นเดียวกับอีกหลายประเทศในโลก โดยเฉพาะภัยพิบัติทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ และความมั่นคงด้านอาหาร ดังนั้น การเปลี่ยนผ่านสีเขียว (Green Transition) จึงเป็นกลไกสำคัญที่ไทยได้นำมาใช้จัดการกับปัญหาเหล่านี้ พร้อมทั้งขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ตอบโจทย์อนาคตที่ยั่งยืน (1) ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา …
เกือบถูกลืม “แพลงก์ตอน” วีรบุรุษตัวจิ๋วแห่งท้องทะเล ตัวช่วยลดโลกร้อน บทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนโลกสู่การบรรลุเป้าหมาย Carbon Neutrality ภายในปี 2050 ในโลกที่เต็มไปด้วยความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต แต่มีสิ่งมีชีวิตกลุ่มหนึ่งที่มักถูกมองข้าม นั่นคือ “แพลงก์ตอน” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจิ๋วที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร อาจดูเหมือนไม่มีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับวาฬหรือฉลาม แต่ในความเป็นจริง แพลงก์ตอนคือหัวใจสำคัญที่ขับเคลื่อนชีวิตทั้งในทะเลและบนบก บทบาทของมันยิ่งใหญ่เกินกว่าขนาดตัว จนถูกขนานนามว่าเป็น “ปอดของโลก” ความสำคัญของแพลงก์ตอนต่อโลก …
คาดว่าในปี 2593 ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ล้านคน ดังนั้นต้องปฏิรูประบบอาหารเพื่อความยั่งยืน และสามารถรองรับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
จุดประกายความหวังใหม่ เมื่อนักวิจัยค้นพบ บทบาทสำคัญในการฟื้นตัวของสาหร่ายทะเล มาจาก “นากทะเล” วีรบุรุษแห่งการต่อสู้กับภาวะโลกร้อนในท้องทะเล สาหร่ายทะเลมีบทบาทสำคัญทั้งในระบบนิเวศและชีวิตมนุษย์ และยังช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ลดภาวะโลกร้อน และบางชนิดใช้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นพลังงานทางเลือกที่ยั่งยืน แต่สาหร่ายทะเล กำลังเผชิญภัยคุกคามจากมลพิษ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวของสัตว์กินพืช เช่น เม่นทะเล ที่เพิ่มขึ้น นากทะเล: ผู้ฟื้นฟูป่าสาหร่ายทะเล และความซับซ้อนของระบบนิเวศ แต่เมื่อนากทะเลกลับคืนสู่เกาะต่างๆ …
“พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย ประกาศเตือนภัยฉุกเฉิน แต่นักพยากรณ์อากาศ พบเส้นทางการเคลื่อนตัวที่ผิดปกติ จนถึงขั้นกังวล เพราะเส้นทางที่ไม่ธรรมดาของ “อัลเฟรด” เป็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ “พายุไซโคลนอัลเฟรด” ถล่มออสเตรเลีย เมื่อวันเสาร์ 8 มีนาคม 2568 ส่งผลให้เกิดน้ำท่วม …