โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน) จ.ตรัง นำร่องโครงงาน “Eco Print พิมพ์รักจากธรรมชาติ” เด็กปฐมวัย คว้ารางวัลชนะเลิศระดับเทศบาล สู่ตัวแทนแข่งขันระดับภาคใต้ โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน) อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จัดโครงงานพิเศษ “Eco Print พิมพ์รักจากธรรมชาติ” สำหรับนักเรียนระดับชั้นปฐมวัยปีที่ 3 …
Nature Based
มูลช้างมีค่า “พระครูอ๊อด” แห่งวัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่ ผุด “ธนาคารปุ๋ยมูลช้าง” จากทรัพยากรธรรมชาติ สู่เกษตรอินทรีย์ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โครงการ ธนาคารปุ๋ยมูลช้าง ภายใต้การริเริ่มของ พระครูสังฆรักษ์วีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโน หรือ “พระครูอ๊อด” วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ได้กลายเป็นต้นแบบของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า โดยเปลี่ยนมูลช้าง …
ภาคเกษตรจะเป็นสาเหตุก่อโลกร้อน 1 ใน 3 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด หากปรับมาทำเกษตรอินทรีย์จะเพิ่มการกักเก็บคาร์บอนในดินมากขึ้น
‘เกษตรฟื้นฟู’ ยืดอายุโลก วิถีผลิตอาหารช่วยกักเก็บคาร์บอน
ภาคเกษตรกรรมปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึง 1 ใน 3 ของปริมาณทั้งหมดในโลก โดยภาคเกษตรของไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยู่ที่ 67.87 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์
คาดว่าในปี 2593 ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 10,000 ล้านคน ดังนั้นต้องปฏิรูประบบอาหารเพื่อความยั่งยืน และสามารถรองรับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อเลิกฟอสซิลไม่ได้ ต้องกักเก็บคาร์บอนใน ‘ดิน’ ต่อสู้ภาวะโลกร้อน
แม้ภาคเกษตรจะมีสัดส่วนการปล่อยคาร์บอนต่ำ แต่จำเป็นต้องเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร รวมทั้งปรับเปลี่ยนไปทำการเกษตรแบบธรรมชาติ หรือเกษตรอินทรีย์
หากไม่ฟื้นฟูดิน ภายใน 50 ปีอาจไม่มีพื้นที่ผลิตอาหารเลี้ยงคนทั้งโลก
ภาคเกษตรมีสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 1 ใน 3 ของทั่วโลก หากหันมาทำ “เกษตรฟื้นฟู” จะช่วยลดคาร์บอน และเป็นทางออกจากวิกฤตโลกร้อน (more…)
‘เกษตรฟื้นฟู’ ตัวจริง Carbon Neutral กักเก็บคาร์บอนมากกว่าป่าปลูก
เกษตรกรรมฟื้นฟูมีมานานมากแล้วเพราะเป็นเกษตรตามธรรมชาติซึ่งตรงกันข้ามกับระบบเกษตรในปัจจุบันที่พึ่งพาสารเคมี หรือเป็นเกษตรอุตสาหกรรมที่มุ่งเน้นปริมาณมากกว่าความปลอดภัยของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค
ใคร ๆ คงรู้จัก ก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน และหลายคนคงเคยได้ยินประโยคที่ว่า เราทุกคนต้องช่วยกันลดก๊าซเรือนกระจก แต่จะช่วยอย่างไรเล่า หรือจะให้เราเริ่มต้นจากตรงไหนดี