ปรากฏการณ์มหัศจรรย์ ฝูง “แมงกะพรุน” นับหมื่นเกยตื้นหาดนภาธาราภิรมย์ จ.ระยอง สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศทางทะเล ที่อาจเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และภาวะโลกร้อน หรือไม่ เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2568 ชายหาดนภาธาราภิรมย์ หรือที่รู้จักกันในชื่อหาด EOD ในเขตพื้นที่กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ อ.บ้านฉาง จ.ระยอง กลายเป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวและชาวบ้าน เมื่อเกิดปรากฏการณ์ฝูงแมงกะพรุนหลากสีจำนวนมหาศาลนับหมื่นตัวพากันเกยตื้นบนชายหาด …
Ocean
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ออกมาตรการเข้ม ผู้ประกอบการทัวร์ดำน้ำ คุมพฤติกรรมนักท่องเที่ยว ป้องแนวปะการังเสียหาย ฝ่าฝืนเจอโทษจำคุก 2 ปี ปรับสูงสุด 2 แสนบาท ช่วงหลายปีที่ผ่านมา กิจกรรมท่องเที่ยวดำน้ำได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในพื้นที่แนวปะการังที่มีความสวยงาม แต่ข้อมูลจาก ดร. ปิ่นสักก์ สุรัสวดี อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระบุว่า ผู้ประกอบการหลายราย …
‘Coca-Cola’ อาจทิ้งขยะพลาสติกสู่ทะเล 603 ล้าน กก. ในปี 2030
รายงานล่าสุดจาก Oceana เผยตัวเลขชวนสะเทือนใจ คาดการณ์ว่า ภายในปี 2030 ขยะพลาสติกจาก Coca-Cola อาจท่วมมหาสมุทรถึง 603 ล้านกิโลกรัม หรือ 220,000 ล้านขวด ส่งผลร้ายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพมนุษย์ วันที่ 26 มีนาคม …
เกือบถูกลืม “แพลงก์ตอน” วีรบุรุษตัวจิ๋วแห่งท้องทะเล ตัวช่วยลดโลกร้อน บทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนโลกสู่การบรรลุเป้าหมาย Carbon Neutrality ภายในปี 2050 ในโลกที่เต็มไปด้วยความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต แต่มีสิ่งมีชีวิตกลุ่มหนึ่งที่มักถูกมองข้าม นั่นคือ “แพลงก์ตอน” สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจิ๋วที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร อาจดูเหมือนไม่มีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับวาฬหรือฉลาม แต่ในความเป็นจริง แพลงก์ตอนคือหัวใจสำคัญที่ขับเคลื่อนชีวิตทั้งในทะเลและบนบก บทบาทของมันยิ่งใหญ่เกินกว่าขนาดตัว จนถูกขนานนามว่าเป็น “ปอดของโลก” ความสำคัญของแพลงก์ตอนต่อโลก …
สำเร็จ นักวิทยาศาสตร์ไขปริศนา “ปีที่หายไป” ของ “ลูกเต่าทะเล” หลังฟักไข่แล้วหายไปไหน ด้วยการติด GPS บนกระดอง “ไม่ใช่ว่าเต่าหายไป แต่เราแค่ไม่เคยตามมันทัน” เป็นเวลาหลายทศวรรษ ที่นักวิทยาศาสตร์สงสัยว่าจะเกิดอะไรขึ้นในช่วงหลายปีที่หายไป ระหว่างที่ลูกเต่าทะเลตัวเล็กออกจากชายหาด จนกลับมายังพื้นที่ชายฝั่งเมื่อใกล้โตเต็มวัย ซึ่งก็คือช่วงเวลาประมาณ 1 ถึง …
ปมร้อน พ.ร.ก.ประมง มาตรา 69 ชวนทำความรู้จัก “อวนล้อมจับ – อวนตาถี่” ทำไมกลายเป็นภัยคุกคามต่อความยั่งยืนของทะเลไทย ระบบห่วงโซ่อาหารในทะเลพัง? ในท้องทะเลไทยที่เต็มไปด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ การทำประมงด้วยวิธีการต่างๆ ได้สร้างผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศ โดยเฉพาะวิธีการใช้ “อวนล้อมจับ” ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือประมงที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ก็มาพร้อมกับผลกระทบที่รุนแรงต่อความยั่งยืนของทะเลไทย และยิ่งตอกย้ำขึ้นไปอีก เมื่อร่าง …
ผลกระทบจาก “พ.ร.ก.ประมง มาตรา 69” แก้ไขใหม่ นักอนุรักษ์ ชี้ จาก 90% นำเข้าปลาทู สัตว์น้ำเศรษฐกิจหลัก สู่การสูญเสีย 1 แสนล้านบาท และอาจพากลับไปสู่ยุค “ทะเลร้าง” อีกครั้ง พลันร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ก.การประมง พ.ศ. 2558 …
‘พะยูน’ ท้องทะเลไทย วิกฤต 48 ตัว ตายในปีเดียว
วิกฤตหนัก “พะยูน” ในท้องทะเลไทย 48 ตัว ตายในปีเดียว “หญ้าทะเล” แหล่งอาหารหลัก หาย ระบบนิเวศพัง สัญญาณสำคัญต่อมนุษย์ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา “พะยูน” ในท้องทะเลไทย ได้เผชิญกับความท้าทายที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของพวกมันอย่างมาก พะยูน หรือที่เรียกว่า “หมูน้ำ” ถือเป็นสัตว์ป่าสงวน ลำดับที่ 15 ของไทย …
ข่าวดีต้อนรับปี 2568! “เต่ามะเฟือง” สัตว์ป่าสงวนที่เสี่ยงสูญพันธุ์ วางไข่รังแรก 127 ฟอง สร้างความหวังใหม่ให้กับการอนุรักษ์ สัญญาณที่ดีต่อระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง ช่วยรักษาสมดุลและความหลากหลายทางชีวภาพ เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2568 สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (สทช.6) ได้รับแจ้งจากชาวบ้านในพื้นที่ ต.เกาะพระทอง อ.คุระบุรี …
กลุ่มประมงพื้นบ้านค้านร่าง พ.ร.บ.การประมงฉบับใหม่ที่จะเข้าวาระ 3 วันที่ 25 ธ.ค.นี้ ระบุเปิดช่องทำลายห่วงโซ่อาหารในระบบนิเวศอย่างร้ายแรง