News Update

  • นักวิทยาศาสตร์เพาะเซลล์ ปลาหมึกและหมึกยักษ์เป็นที่ทราบกันดีว่ามีคุณสมบัติพิเศษในการพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อหลบเลี่ยงผู้ล่าหรือเหยื่อ หลายปีที่ผ่านมานักวิจัยได้พยายามเพาะเลี้ยงเซลล์ปลาหมึกในห้องแล็บ เพื่อค้นหาโครงสร้างของคุณสมบัติโปร่งใสของปลาหมึกแต่ไม่เป็นผลสำเร็จ กระทั่งล่าสุดทีมนักวิจัยได้ปรับวิธีการใหม่ โดยจำลอง (replicate) ความโปร่งใสที่ปรับได้จากเซลล์ผิวหนังของปลาหมึกในเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งปรากฎว่าวิธีนี้สามารถเพาะเลี้ยงเซลล์ผิวหนังที่ปรับความโปร่งใสของปลาหมึกได้ งานวิจัยนี้ไม่เพียงทำให้กระจ่างเกี่ยวกับชีววิทยาพื้นฐานของปลาหมึกเท่านั้น แต่ยังนำไปสู่วิธีที่ดียิ่งขึ้นในการถ่ายภาพเซลล์หลายชนิด ความโปร่งใสที่ปลาหมึกพัฒนาปรับเปลี่ยนได้มาจากโครมาโตฟอร์ เซลล์ที่สร้างเม็ดสีที่อยู่ใต้ผิวหนังควบคุมโดยกล้ามเนื้อ ทำงานโดยการหดและขยายถุงเม็ดสีเพื่อทำให้มองเห็นสีได้มากขึ้นหรือน้อยลง แต่ปัญหาของโครมาโตฟอร์คือไม่สามารถทำงานเดี่ยวๆ ได้ เพราะเม็ดสีสร้างมีเพียงสีดำ น้ำตาล ส้ม แดง หรือเหลืองเท่านั้น นักวิจัยจึงมุ่งไปที่ ลิวโคฟอร์ (leucophores) เซลล์ผิวหนังที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนสีของโครงสร้างผ่านโปรตีนที่เรียกว่าสารสะท้อนแสงที่เกาะกลุ่มกันเพื่อสร้างอนุภาคนาโนที่สะท้อนแสงกลับที่ความยาวคลื่นต่างกัน สีที่สะท้อนแสงยังปรากฏแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับมุมที่สังเกต ลิวโคฟอร์เป็นเซลล์ใช้โปรตีนวิเศษที่รู้จักกันในชื่อ ‘รีเฟลกติน’ เพื่อกระจายแสงรอบๆ ตัวเอง …

  • นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกนต์ ระบุว่าป่าฝนเขตสงวนชีวมณฑลของยูเนสโกในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกจะกลายเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนอันดับหนึ่งที่สำคัญสุดในโลก แทนที่ป่าแอมะซอนในอเมริกาใต้

  • พิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำในฟลอริดาบรรลุข้อตกลงกับองค์กรไม่แสวงหากำไร Friends of Lolita เพื่อปล่อยโลลิตา วาฬเพชฌฆาตหลังถูกใช้เพื่อการแสดงมานานกว่า 50 ปี

  • นครนายกไฟยังลุกท่วม ประกาศเขตภัยพิบัติไฟป่าในพื้นที่ ต.พรหมณี และ ต.เขาพระ หลังกระแสลมส่งผลให้เกิดไฟลุกไหม้อีกครั้งในช่วงกลางดึกที่ผ่านมา

  • สภาลมหายใจภาคเหนือจัดเสวนาเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาฝุ่นควันในพื้นที่ภาคเหนือ ภายใต้หัวข้อ “ฝุ่นข้ามแดนมีสัดส่วนกี่% ของฝุ่นทั้งหมด” โดยมี ผศ.ดร. ชาคริต โชติอมรศักดิ์

  • มตินี้ถูกนำเข้าวาระการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2566 ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกว่า 130 ประเทศ เว้นแต่ 2 ประเทศผู้ก่อมลพิษอากาศรายใหญ่ที่สุดของโลกคือสหรัฐอเมริกาและจีน ที่ไม่แสดงการสนับสนุน แต่ไม่ได้คัดค้าน นั่นหมายความว่ามติดังกล่าวผ่านมติเอกฉันท์

Copyright @2021 – All Right Reserved.