“น้ำท่วมเท็กซัส” ครั้งประวัติศาสตร์ สังเวยทะลุ 100 ราย สูญหายอีกนับสิบ นักวิชาการ เผยเหตุผล ภาวะโลกร้อน และข้อจำกัดด้านการพยากรณ์ สร้างความเสียหายหนักในพื้นที่ตะวันตกและตอนกลางของรัฐ ในช่วงวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2025 รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เผชิญกับอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สร้างความเสียหายรุนแรงในพื้นที่ตะวันตกและตอนกลางของรัฐ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ฝนตกหนักต่อเนื่อง 6 วัน …
น้ำท่วม
‘โลกร้อน’ รุกหนัก ‘กรุงเทพฯ-สมุทรปราการ’ เสี่ยงจมน้ำในปี 2050
ภาวะโลกร้อนกำลังส่งผลกระทบรุนแรงต่อกรุงเทพฯ และสมุทรปราการ ด้วยระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นและการกัดเซาะชายฝั่งที่ทวีความรุนแรง หากไม่มีการรับมืออย่างจริงจัง พื้นที่เหล่านี้อาจจมน้ำภายในปี 2050 ดร.สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ชมรมนักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมไทย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า ภาวะโลกร้อนกำลังสร้างผลกระทบอย่างหนักต่อประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเผชิญกับปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งและระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามรายงานของ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) คาดการณ์ว่าในช่วงปี 2025–2029 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะสูงขึ้น 1.2 …
ช่วง 9 – 10 ก.ย. มีน้ำไหลผ่านเขื่อนเจ้าพระยาเพิ่มในอัตรา 1,500 – 2,000 ลบ.ม.ต่อวินาที พื้นที่น้ำท่วม 116.21 ตาราง กม.ใน จ.ปทุมธานี และนนทบุรี
รัฐบาลเพื่อไทยเดินหน้าผลักดันการก่อสร้างเขื่อนแก่งเสือเต้น จ.แพร่ ที่ถูกคัดค้านมาตั้งแต่ปี 2532 อีกครั้ง แม้จะต้องแลกพื้นที่ป่าอุทยานนับแสนไร่
เราไม่มีทางด่วนน้ำ หรือฟลัดเวย์ให้น้ำจากเหนือลงสู่อ่าวไทยอย่างรวดเร็ว จึงต้องลุ้นอุทกภัยกันทุกปี เจอแล้งซ้ำซาก เพราะไม่มีการบริหารจัดการที่ดี
การสร้าง “เมืองฟองน้ำ” เป็นแนวทางหนึ่งในการกักเก็บน้ำไว้บนหลังคาและแหล่งซับน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งมีต้นแแบอยู่เมืองอัมสเตอร์ดัม และจีนกำลังสร้างบ้าง แต่ยังไม่สำเร็จ
กรมชลฯ คาดการณ์ 1-3 วันข้างหน้าต้องระบายน้ำผ่านท้ายเขื่อนเจ้าพระยา 800-1,100 ลบ.ม.ต่อวินาที ให้ประชาชนริมฝั่งเจ้าพระยา เฝ้าระวังน้ำท่วม