News Update

  • น้ำมันดิบ Murban oil 20 ตันรั่วจากท่อ SBM-2 ของไทยออยล์ ดร.เฉลิมชัย สั่งกรมควบคุมมลพิษ และ กรมทรัพย์ฯ ติดตามผลกระทบสิ่งแวดล้อม วันที่ 6 มิถุนายน 2568 เวลา 00:54 น. เกิดเหตุน้ำมันดิบรั่วไหลจากท่อขนส่ง SBM-2 ของบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) ระหว่างการขนถ่ายจากเรือบรรทุกขนาดใหญ่ MT Phoenix Jamnagar ซึ่งเป็นเรือสัญชาติสิงคโปร์ …

  • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจัดงานวันสิ่งแวดล้อมโลก ปี 2568 ภายใต้แนวคิด “Beat Plastic Pollution: ใช้พลาสติกอย่างเข้าใจ เปลี่ยนประเทศไทยให้ยั่งยืน” ส่งเสริมทุกภาคส่วนร่วมลดขยะพลาสติก มุ่งสู่เป้าหมายรีไซเคิล 100% ภายในปี 2570  วันที่ 5 มิถุนายน 2568 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม จัดกิจกรรมวันสิ่งแวดล้อมโลก ประจำปี 2568 ภายใต้แนวคิดระดับโลก “Beat Plastic Pollution: Ending global plastic …

  •     นวัตกรรมจาก มทส. ผสานเทคโนโลยี CT-Scan และ AI ตรวจคุณภาพทุเรียนแม่นยำ 95% ช่วยคัดแยกอ่อน-แก่และหนอนใน 3 วินาที ยกระดับอุตสาหกรรมทุเรียนไทยสู่เวทีโลก      คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) นำโดย รศ.ดร.ชาญชัย ทองโสภา อาจารย์ประจำสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ร่วมกับสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (ARDA) ได้เปิดตัว “เครื่องสแกนทุเรียน” นวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยี CT-Scan ผสานกับปัญญาประดิษฐ์ …

  • ทองคำรั่วจากใจกลางโลก! การค้นพบใหม่เผยโลหะมีค่า รวมถึง ทองคำจากแกนโลก กำลังซึมผ่านชั้นแมนเทิลสู่พื้นผิว ผ่านแมกมาในหินภูเขาไฟที่ฮาวาย  เปลี่ยนความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายธาตุในโลก การศึกษาใหม่เกี่ยวกับไอโซโทปที่พบในหินภูเขาไฟ ซึ่งเกิดจากแมกมาที่ไหลซึมจากใต้เปลือกโลก ได้เผยให้เห็นว่าโลหะมีค่า รวมถึงทองคำ กำลังรั่วไหลจากแกนโลก (core) ขึ้นสู่ชั้นแมนเทิล (mantle) และเคลื่อนที่ต่อไปจนถึงพื้นผิวโลก โดยกระบวนการนี้เกิดจากแมกมาที่นำพาความร้อนและวัสดุจากส่วนลึกของโลก “เมื่อผลการวิเคราะห์ชุดแรกออกมา เราตื่นเต้นมากที่พบว่ามีทองคำจริงๆ!” นิลส์ เมสสลิง (Nils Messling) นักธรณีเคมีจากมหาวิทยาลัยเกิททิงเงน (University of Göttingen) ในเยอรมนี กล่าว “ข้อมูลของเรายืนยันว่า …

  •       กรมลดโลกร้อน ร่วมเปิดตัว ‘Thailand Taxonomy 2.0’ ยกระดับมาตรฐานเศรษฐกิจสีเขียว ขับเคลื่อนไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน   เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2568 คณะทำงานขับเคลื่อนการกำหนดนิยามและจัดกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม (Thailand Taxonomy) ระยะที่ 2 ซึ่งเกิดจากความร่วมมือระหว่างกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมด้วยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนรวม 32 หน่วยงาน จัดงานสัมมนา “Thailand Taxonomy …

  •     แผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกากำลังละลายอย่างรวดเร็ว แม้ภาวะโลกร้อนจะถูกจำกัดที่ 1.5 องศาเซลเซียส ส่งผลให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นอย่างรุนแรง คุกคามชายฝั่งทั่วโลกและนำไปสู่วิกฤตการอพยพครั้งใหญ่ในอนาคตอันใกล้     ผลการวิจัยล่าสุด เผยให้เห็นภาพที่น่าสะพรึงกลัวเกี่ยวกับอนาคตของแผ่นน้ำแข็งกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ซึ่งกำลังเผชิญกับการละลายอย่างรวดเร็ว แม้ว่ามนุษยชาติจะสามารถจำกัดภาวะโลกร้อนให้อยู่ที่ 1.5 องศาเซลเซียสตามเป้าหมายสากลก็ตาม การละลายนี้จะนำไปสู่ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่างรุนแรง ส่งผลให้เกิดการอพยพครั้งใหญ่จากพื้นที่ชายฝั่งทั่วโลก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เรียกว่า “หายนะ”   ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติได้ทำการศึกษาอย่างละเอียด เพื่อกำหนด “ขีดจำกัดที่ปลอดภัย” ของภาวะโลกร้อนที่ยังสามารถรักษาเสถียรภาพของแผ่นน้ำแข็งทั้งสองนี้ได้ โดยอาศัยข้อมูลจากดาวเทียม โมเดลสภาพอากาศ แกนน้ำแข็ง ตะกอนใต้ท้องทะเลลึก และแม้แต่ดีเอ็นเอของปลาหมึกยักษ์เพื่อย้อนรอยประวัติศาสตร์สภาพภูมิอากาศในอดีต …

Copyright @2021 – All Right Reserved.