“น้ำท่วมเท็กซัส” ครั้งประวัติศาสตร์ สังเวยทะลุ 100 ราย สูญหายอีกนับสิบ นักวิชาการ เผยเหตุผล ภาวะโลกร้อน และข้อจำกัดด้านการพยากรณ์ สร้างความเสียหายหนักในพื้นที่ตะวันตกและตอนกลางของรัฐ ในช่วงวันที่ 4-5 กรกฎาคม 2025 รัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เผชิญกับอุทกภัยครั้งใหญ่ที่สร้างความเสียหายรุนแรงในพื้นที่ตะวันตกและตอนกลางของรัฐ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่รุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ฝนตกหนักต่อเนื่อง 6 วัน …
climatechange
‘โลกร้อน’ รุกหนัก ‘กรุงเทพฯ-สมุทรปราการ’ เสี่ยงจมน้ำในปี 2050
ภาวะโลกร้อนกำลังส่งผลกระทบรุนแรงต่อกรุงเทพฯ และสมุทรปราการ ด้วยระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นและการกัดเซาะชายฝั่งที่ทวีความรุนแรง หากไม่มีการรับมืออย่างจริงจัง พื้นที่เหล่านี้อาจจมน้ำภายในปี 2050 ดร.สนธิ คชวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ชมรมนักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมไทย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ระบุว่า ภาวะโลกร้อนกำลังสร้างผลกระทบอย่างหนักต่อประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเผชิญกับปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งและระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามรายงานของ องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) คาดการณ์ว่าในช่วงปี 2025–2029 อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะสูงขึ้น 1.2 …
องค์การอุตุนิยมวิทยาโลกชี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้คลื่นความร้อนรุนแรงและถี่ขึ้น โดยเฉพาะในยุโรปที่กำลังเผชิญอุณหภูมิสูงผิดปกติ เรียกร้องให้ทุกฝ่ายเตรียมพร้อมรับมือเพื่อลดความสูญเสีย เจนีวา (1 ก.ค.) – องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) ระบุว่า โลกต้องเรียนรู้ที่จะรับมือกับคลื่นความร้อน เนื่องจากยุโรปส่วนใหญ่กำลังเผชิญอุณหภูมิสูงในช่วงฤดูร้อน โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากกิจกรรมของมนุษย์ จะทำให้คลื่นความร้อนเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้นในอนาคต แคลร์ นูลลิส โฆษก WMO กล่าวว่า เดือนกรกฎาคมเป็นเดือนที่ร้อนที่สุดในซีกโลกเหนือ และการเกิดคลื่นความร้อนในช่วงต้นฤดูร้อนถือเป็นเรื่องผิดปกติ …
EU จ่อใช้ ‘คาร์บอนเครดิต’ ต่างชาติ ลดเป้าปล่อยก๊าซเรือนกระจก ปี 2040
คณะกรรมาธิการยุโรป เตรียมเสนอใช้ “คาร์บอนเครดิต” จากต่างประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจก 90% ภายในปี 2040 พร้อมเพิ่มความยืดหยุ่นให้อุตสาหกรรมและประเทศสมาชิก ลดภาระการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด ข้อเสนอจะเปิดตัว 2 ก.ค. 2025 และรอการอนุมัติจาก EU ตามรายงานของสำนักข่าวรอยเตอร์ คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) เตรียมเสนอให้สหภาพยุโรป …
รายงาน Fuel to Fork: What Will it Take to Get Fossil Fuels Out of Our Food Systems? เผยแพร่เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2568 โดย …
“เอเชียร้อนจัด” รุนแรงเกือบสองเท่าของค่าเฉลี่ยโลก ส่งผลให้เกิดคลื่นความร้อน พายุ และภัยแล้ง คุกคามความมั่นคงด้านอาหาร ระบบนิเวศ และเศรษฐกิจ เอเชีย ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของประชากรมากกว่าครึ่งหนึ่งของโลก กำลังเผชิญวิกฤตสภาพอากาศที่รุนแรง อุณหภูมิในภูมิภาคนี้สูงขึ้นเกือบสองเท่าของค่าเฉลี่ยโลก ตามรายงานสถานะสภาพอากาศในเอเชียปี 2024 โดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO) หน่วยงานของสหประชาชาติ ระบุว่า ปีที่ผ่านมาถือเป็นปีที่ร้อนที่สุด หรือร้อนเป็นอันดับสองในประวัติการณ์ของทวีป ขึ้นอยู่กับชุดข้อมูล โดยอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มขึ้น …
‘แผ่นดินไหว’ เขย่าอันดามัน 15 ครั้ง ในวันเดียว จับตาสัญญาณภัยครั้งใหญ่
ทะเลอันดามันเกิด “แผ่นดินไหว” ต่อเนื่อง 15 ครั้ง ภายในวันเดียว รุนแรงถึง 5.5 ริกเตอร์ ใกล้จุดสึนามิปี 47 ผู้เชี่ยวชาญเตือนสัญญาณอันตราย แนะติดตามข่าวสาร ศึกษาเส้นทางอพยพ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2568 เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวติดต่อกันถึง 15 ครั้ง ภายในระยะเวลาไม่ถึง …
“หิ่งห้อยเบธานีบีช” เผชิญภัยคุกคามจากมลพิษทางแสง ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น และการพัฒนาชายฝั่ง ส่งผลให้ประชากรลดลงอย่างน่าใจหาย รัฐบาลสหรัฐฯ เสนอขึ้นบัญชีสัตว์ใกล้สูญพันธุ์เพื่อปกป้องสายพันธุ์นี้ หิ่งห้อยเบธานีบีช (Photuris bethaniensis) เป็นแมลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ด้วยแสงวาบสีเขียวสองครั้ง ซึ่งพบได้ในพื้นที่ชุ่มน้ำน้ำจืดระหว่างเนินทราย (interdunal swales) ตามแนวชายฝั่งของเดลาแวร์ แมริแลนด์ และเวอร์จิเนีย อย่างไรก็ตาม หิ่งห้อยสายพันธุ์นี้กำลังเผชิญกับภัยคุกคามร้ายแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มลภาวะทางแสง และการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง …
นักวิจัยญี่ปุ่นจาก RIKEN และ ม.โตเกียว พลิกโฉมวงการด้วยพลาสติกที่ละลายในน้ำทะเลได้ในไม่กี่ชั่วโมง ทางออกใหม่เพื่อสู้มลภาวะมหาสมุทรและปกป้องสัตว์ป่า นักวิจัยจากศูนย์ RIKEN Center for Emergent Matter Science และมหาวิทยาลัยโตเกียวในญี่ปุ่น ได้พัฒนาพลาสติกชนิดใหม่ที่สามารถละลายในน้ำทะเลได้ภายในไม่กี่ชั่วโมง ถือเป็นนวัตกรรมที่อาจช่วยแก้ปัญหามลภาวะในมหาสมุทรและปกป้องสัตว์ป่าจากภัยคุกคามของขยะพลาสติกในยุคปัจจุบัน แม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะทดลองกับพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพมานาน แต่ทีมวิจัยระบุว่า วัสดุชนิดนี้ย่อยสลายได้เร็วกว่ามาก และไม่ทิ้งร่องรอยตกค้าง ในการสาธิตที่ห้องปฏิบัติการในเมืองวาโก ใกล้กรุงโตเกียว …
รองนายกฯ “ประเสริฐ จันทรรวงทอง” ลงพื้นที่ จ.สมุทรปราการ รับฟังรายงานการกัดเซาะชายฝั่งตั้งแต่ทศวรรษ 2520 และระดับน้ำทะเล ที่อาจพุ่งถึง 1 เมตรในปี 2100 สั่งกระทรวงทรัพยากรฯ เร่งแผนแม่บท หวังลดผลกระทบเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม วันที่ 6 มิถุนายน 2568 นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รองนายกรัฐมนตรี …