เมื่อวันที่ 27 มี.ค.66 นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลกล่าวถึงปัญหาฝุ่น PM 2.5 ผ่านทางเฟซบุ๊กเพจ Pita Limjaroenrat – พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ว่า สถานการณ์ PM2.5 ในภาคเหนือรุนแรงมาก บางจังหวัดเช่นเชียงใหม่ กลายเป็นเมืองที่มีมลพิษมากที่สุดในโลก โดยที่ผ่านมามีการพูดถึงข้อเสนอในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยเฉพาะด้านการป้องกัน บรรเทาไปพอสมควร…
Pollution
นักวัจัยบราซิลพบ ‘หินพลาสติก’ ที่เกาะ Trindade แหล่งวางไข่เต่าตนุ สัญญาณเตือนผลกระทบขยะพลาสติกธรณีวิทยาโลก
ระดับมลพิษอากาศที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์กับการสูญเสียความหนาแน่นขอมวลกระดูก โดยเฉพาะที่กระดูกสันหลังส่วนเอวในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน
PM2.5 ที่เพิ่มเพียง 1 มคก./ลบ.ม เสี่ยงกระตุ้นคนฆ่าตัวตาย
การศึกษาเพื่อประเมินผลของการสัมผัส PM2.5 ที่สูงขึ้นในระยะสั้น ส่งผลให้อาการทางจิตหลายประเภทแย่ลง จากจำนวนคนไข้ที่เข้าห้องฉุกเฉินทางจิตเวชและเข้ารับรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ซึ่งรวมไปถึงการพยายามฆ่าตัวตาย
มลพิษพลาสติกในมหาสมุทรโลกเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนตั้งแต่ปี 2005 และอาจเพิ่มขึ้นเกือบสามเท่าภายในปี 2040 หากไม่มีการดำเนินการใดๆ
การศึกษาพบ 99.82% ของพื้นที่โลก มีค่า PM2.5 รายวันเกินมาตรฐาน
การศึกษาใหม่พบว่ามีเพียง 0.18% ของพื้นที่โลกและ 0.001% ของประชากรโลกเท่านั้นที่สัมผัสระดับ PM2.5 ต่ำกว่า 15 มคก./ลบ.ม. ตามเกณฑ์แนะนำคุณภาพอากาศ PM2.5 ใหม่ที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ
PM 2.5 กทม.พุ่งเกินมาตรฐาน แนวโน้มต่อเนื่องถึง 8 มี.ค.
วันนี้ (7 มี.ค. 2566) ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานครรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร ช่วงเวลา 05.00-07.00 น. ตรวจวัดได้ 58-93 มคก./ลบ.ม. ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 72.6 มคก./ลบ.ม. และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและอยู่ในระดับกระทบต่อสุขภาพ จำนวน 69…
คนส่วนใหญ่คิดว่ามลพิษอากาศเป็นสิ่งที่มาจากภายนอก เช่น โรงงาน สถานก่อสร้าง หรือท่อไอเสียยนต์ แต่ในความเป็นจริงแล้วอากาศภายในบ้านหรือในที่ทำงานก็มีโอกาสเป็นเป็นมลพิษได้เช่นกัน ซึ่งมลพิษอากาศภายในอาคารอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมากกว่ามลพิษทางอากาศภายนอกอาคารด้วยซ้ำ
‘ราดำ’ คร่าชีวิตเด็กวัย 2 ขวบ มลพิษอากาศในอาคารที่ไม่ควรมองข้าม
มลพิษทางอากาศเป็นสาเหตุสำคัญของโรคไม่ติดต่อ ไม่ว่าจะเป็น โรคหอบหืด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง มะเร็งปอด และอาจรวมถึงโรคสมองเสื่อม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาทั่วโลกพยายามปรับปรุงคุณภาพอากาศภายนอกอาคาร เช่น PM 2.5 แต่คุณภาพอากาศภายในอาคารกลับถูกมองข้ามแม้ว่าอาจทำให้เสียชีวิตได้เกือบเท่าๆ กัน
การสัมผัสไอเสียจากดีเซลเพียง 2 ชั่วโมง ทำให้การเชื่อมต่อการทำงานของสมองส่วน DMN ลดลง ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญในการกระตุ้น หรือรักษาอาการซึมเศร้า และย้ำคิดย้ำทำ