ไขข้อข้องใจ “ฝุ่น PM2.5” ใน กทม. มาจากไหน? หลังค่าฝุ่น ติดอันดับ 8 ของโลก เกินมาตรฐานทุกเขต ‘หนองแขม-บางบอน-ธนบุรี’ สูงสุด มีผลกระทบต่อสุขภาพ เรื่องของ “ฝุ่น PM2.5” ไม่เคยจางหายไป โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กทม.) ศูนย์กลางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศไทย ที่กำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพอากาศที่เรียกว่า …
มลพิษอากาศ
คนกรุงต้องเผชิญกับคุณภาพอากาศที่ย่ำแย่ “ฝุ่น PM2.5” พุ่งเกินมาตรฐาน 70 พื้นที่ เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ เตือน 7-15 มกราคม 2568 แนวโน้มสูงขึ้นอีก ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร รายงานสถานการณ์ “ฝุ่น PM2.5” ประจำวันที่ 7 มกราคม 2568 ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 49.3 …
ที่ประชุมรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมอาเซียน COP-19 เห็นพ้อง ผลักดันประเทศอาเซียน เป็นภูมิภาคปลอดหมอกควัน ตั้งคณะทำงานพิจารณาแนวทาง ลดจุดความร้อนในพื้นที่พรุอาเซียน ให้ได้ตามเป้า การประชุมระดับรัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมของประเทศภาคีต่อข้อตกลงอาเซียน เรื่อง มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ครั้งที่ 19 (COP – 19) เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2567 โดยมีนายนราพัฒน์ แก้วทอง …
ชุบชีวิต ‘ขยะทะเล’ เพิ่มมูลค่า ชุมชนยั่งยืน ลดโลกร้อน
“ขยะทะเล” หนึ่งวิกฤตใหญ่ ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน ภาคเอกชน ต่างให้ความสนใจ ชุบชีวิตขยะ ให้เป็นประโยชน์ ชุมชนยั่งยืน คืนชีวิตให้ทะเล วิกฤต “ขยะ” กำลังเป็นปัญหาใหญ่ไปทั่วโลก ต้นเหตุหลักทำให้เกิดภาวะ “โลกร้อน” ทั้งภาครัฐ และเอกชน ต่างให้ความสนใจที่จะแก้วิกฤตนี้ โดยเฉพาะ “ขยะพลาสติก” ที่ยากต่อการย่อยสลาย …
ถอดบทเรียน “วันสิ่งแวดล้อมไทย” กับ 3 สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะพลาสติก จำนวนป่าไม้ มลพิษอากาศ ไปถึงไหนแล้ว ขณะที่ ค่าฝุ่นยังพุ่ง ขยะพลาสติกล้นทะลัก ผืนป่าลดลงมากสุดในรอบ 10 ปี จากสถานการณ์สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และของโลก ที่มีความรุนแรงขึ้น ทำให้เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2532 …
โลกจะไม่สามารถรับมือปริมาณขยะพลาสติกมหาศาลได้ในอีก 10 ปีข้างหน้า หากประเทศต่างๆ ไม่เห็นพ้องลดการผลิตพลาสติก และบรรลุข้อตกลงภายในสัปดาห์หน้า
“ลาฮอร์” เมืองใหญ่อันดับ 2 ของปากีสถานประกาศสั่งปิดโรงเรียน 1 สัปดาห์ และให้พนักงานทำงานอยู่บ้าน หลังจากค่าฝุ่น PM2.5 พุ่งสูงถึง 1,900
นายกฯ ขู่ไม่รับซื้อข้าวโพดจากการเผาทุกพื้นที่ ยกระดับแก้ไฟป่าข้ามเขต
นายกฯ เปิดทางงัดมาตรการไม่รับซื้อข้าวโพด อ้อย จากการเผาทั้งในและต่างประเทศ ให้คมนาคมตรวจจับรถยนต์ควันดำ ควบคุมโรงงานปล่อยควันรัดกุมมากขึ้น
การผลิตปูนซีเมนต์มีส่วนปล่อยคาร์บอนจำนวนมาก เนื่องจากต้องใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลในการทำความร้อนมหาศาล การใช้หินแกรนิตทดแทนหินปูนจึงเป็นทางเลือก
“เอสโตเนีย” อันดับหนึ่งประเทศเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2024 เวียดนามติดอันดับท้ายสุด เนื่องจากพึ่งพาพลังงานถ่านหินมากขึ้น ไทยรั้งที่ 90