การพัฒนาเครื่องต้นกำลังพลังชีวมวล คือการนำเครื่องยนต์ดีเซลเก่ามาดัดแปลงเป็นเครื่องต้นกำลังพลังชีวมวล เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายการลดฝุ่น PM2.5 และ ลดแหล่งกำเนิดฝุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
Air Pollution
เปิดฤดูฝุ่นพิษกทม. วิจัยพบค่า PM2.5 ที่เพิ่มขึ้น เสี่ยงกระตุ้นคนฆ่าตัวตาย
ค่าฝุ่น PM 2.5 กทม. เช้านี้เกินมาตรฐาน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ตรวจวัดได้ 21-42.1 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) โดยดัชนีคุณภาพอากาศของสถานีตรวจวัดของกรุงเทพมหานคร พบว่า 7 พื้นที่ของ กทม.มีค่าฝุ่น PM2.5 เกินมาตรฐานอยู่ในระดับสีส้ม เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ได้แก่ 1) …
สตอกโฮล์มสั่งห้ามรถยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซินและดีเซลวิ่งในเมืองตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไป เพื่อปรับปรุงคุณภาพอากาศ และลดเสียงรบกวนจากการจราจร
ไฟป่าแคนาดาเลวร้ายทุบสถิติ ผลาญพื้นที่ 1.4 แสนตาราง กม.
สถานการณ์ไฟป่าในแคนาดาเลวร้ายที่สุดเป็นประวัติการณ์และได้ทำลายสถิติสูงสุดของประเทศ ล่าสุดได้เผาผลาญพื้นที่ในประเทศไปแล้วราว 1.4 แสนตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดเทียบเท่ากับรัฐนิวยอร์กของสหรัฐ นอกจากมีประชาชนต้องอพยพกว่าแสนคนแล้ว ฝุ่นควันที่พัดปกคลุมไปทั่วประเทศทำให้มีการปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ชั้นบรรยากาศมากถึง 160 ล้านตัน
เมื่อคืนวันพุธที่ผ่านมานักท่องเที่ยวและผู้อยู่อาศัยบนเกาะเมาอิ ของหมู่เกาะฮาวาย หนีตายกันอลม่าน หลังไฟป่าลุกลามอย่างรวดเร็ว ล่าสุดมีรายงานผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 6 ราย บาดเจ็บหลายสิบคน อาคารบ้านเรือนกว่า 271 ได้รับความเสียหาย
สตาร์ทอัปอเมริกาพัฒนากล้อง AI ตรวจจับไฟป่าได้ไกลถึง 24 กม. และสามารถวิเคราะห์รู้เชิงลึกถึงรุนแรง ตำแหน่ง รวมถึงความเร็วและทิศทางของการลุกลาม
รายงานระบุเครื่องฟอกอากาศที่ใช้แผ่นกรอง HEPA สามารถปรับคุณภาพอากาศในที่ร่มให้ดีขึ้นได้ 30-74% ในช่วงที่ควันไฟป่าปกคลุมหลายพื้นที่ของออสเตรเลีย
การนำวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร หรือชีวมวลที่เป็นสาเหตุหนึ่งของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือฝุ่น PM2.5 มาแปลงเป็นเชื้อเพลิงเพื่อสร้างพลังงานจะเป็นทางออกหนึ่งในการแก้ปัญหามลพิษอากาศซึ่งเกิดขึ้นในทุกปี การผลิตพลังงานจากชีวมวล ผ่านเครื่องยนต์เก่าเหลือทิ้งมาพัฒนาเป็นเครื่องต้นกำลัง นับเป็นการสร้างนวัตกรรมสำหรับการแก้ปัญหา “วิกฤตฝุ่นควัน” เพื่อช่วยกันสร้างอากาศที่ดีสำหรับทุกคน
ศาลปกครองเชียงใหม่ชี้นายกรัฐมนตรีและคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ละเลยหน้าที่แก้ปัญหา PM 2.5 หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร
การศึกษาใหม่เผยมลพิษอากาศเสี่ยงหัวใจเต้นผิดจังหวะเฉียบพลัน หลัง 2-3 ชั่วโมงแรกของการสัมผัส จากนั้นความเสี่ยงจะลดลงภายใน 24 ชั่วโมง