นักวิชาการ เผยข้อมูล หน่วยงานชั้นนำระดับโลก พยากรณ์อากาศระยะยาว ประเทศไทยเผชิญความท้าทายสภาพอากาศปี 2568-2569 ฝนทิ้งช่วง ภัยแล้ง และเอลนีโญที่อาจกลับมา รศ.ดร. วิษณุ อรรถวานิช (กรรมการสภา) สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติการพยากรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก ในหัวข้อ “น้ำท่วมในหน้าแล้ง” โดยระบุว่า การพยากรณ์อากาศระยะยาวจากหน่วยงานชั้นนำระดับโลก เช่น ศูนย์พยากรณ์อากาศระยะกลางของยุโรป (ECMWF), …
เอลนีโญ
อุณหภูมิโลกระอุต่อเนื่อง เตรียมรับมือผลกระทบคลื่นความร้อนสุดขั้ว ปี 67
ภายหลังโลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติภูมิอากาศอย่างหนักหนาสาหัสมาตลอดทั้งปี 2566 โดยเฉพาะภัยจากคลื่นความร้อนสุดขั้ว ที่ส่งผลให้ปี 2566 ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดนับตั้งแต่มีการบันทึก อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ชี้ว่า สถิตินี้อาจมีอายุไม่ยืดนัก เพราะเราอาจจะต้องเจอกับปีที่ร้อนจัดยิ่งกว่าในปี 2567
ฤดูร้อนโลกปีนี้อุ่นที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึกมา โดยอุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคมที่ผ่านมาอยู่ที่ 16.77 องศาเซลเซียส
ผู้เชี่ยวชาญองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (NASA) เตือนว่า สถานการณ์เอลนีโญที่จะเกิดขึ้นระหว่างเดือน ก.พ. ถึง เม.ย. 2567 จะสร้างผลกระทบครั้งใหญ่ที่สุด และมีโอกาส 50% ที่ปีนี้จะเป็นปีที่โลกร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ และคาดการณ์ว่าในปีถัดไปจะร้อนยิ่งกว่าเดิมอีก
ภาพถ่ายดาวเทียมและข้อมูลล่าสุดของ NOAA แสดงให้เห็นว่าอุณหภูมิผิวหน้าน้ำทะเลเกี่ยวข้องโดยตรงกับเอลนีโญ และมวลน้ำเคลื่อนเข้าจ่อปากอ่าวไทยแล้ว
ภายในปี 2566 หรือ 2567 โลกอาจร้อนทุบสถิติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการกลับมาของเอลนีโญที่จะรุนแรงมากขึ้น
อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรทั่วโลกแตะ 21.1°C สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึก ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ปลายปีนี้อาจเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิก